ความคล้าย
- 1. รูปเรขาคณิตสองรูปเป็นรูปที่คล้ายกัน เมื่อรูปเรขาคณิต ทั้งสองนั้นมีรูปร่างเหมือนกัน เช่น รูป A กับรูป B รูป A รูป B หรือ รูป B รูป Aใช้สัญลักษณ์ รูป A ~ รูป B อ่านว่า รูป A คล้ายกับรูป B
- 2. สมบัติของความคล้าย B C A1. สมบัติสะท้อน รูปเรขาคณิต A ~ รูปเรขาคณิต A2. สมบัติสมมาตร รูปเรขาคณิต A ~ รูปเรขาคณิต B แล้ว รูปเรขาคณิต B ~ รูปเรขาคณิต A 3. สมบัติถายทอด ่ รูปเรขาคณิต A ~ รูปเรขาคณิต B และ รูปเรขาคณิต B ~ รูปเรขาคณิต C แล้ว รูปเรขาคณิต A ~ รูปเรขาคณิต C
- 3. บทนิยาม รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นมี1. ขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ ทุกคู่2. อัตราส่วนของความยาวของด้านคูที่สมนัยกันทุกคู่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน ่ A B P Q R S D Cถ้า รูปABCD ~ รูปPQRS PQ QR RS SP AB BC CD DA PQ QR RS SP หรือ AB BC CD DA
- 4. บทนิยาม รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นมี1. ขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ ทุกคู่2. อัตราส่วนของความยาวของด้านคูที่สมนัยกันทุกคู่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน ่ A B P Q R S D Cถ้า รูปABCD ~ รูปPQRS PQ QR RS SP AB BC CD DA PQ QR RS SP หรือ AB BC CD DA
- 5. ตัวอย่าง ข้อ8. จากรูป RICH ~ BANK จงหาขนาดของมุมทุกมุมที่ไม่ได้ระบุไว้ 95 120 80 65 801) ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ R B, I A, C N , H K (เป็นมุมที่สมนัยกันของสีเหลี่ยมคล้าย) ่2) ˆ B 80 (ผลจาก ข้อ1)3) ˆ K 95 (มุมภายในรูปสีเหลี่ยมรวมกันได้ 360 องศา) ่ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ4) R B 80 , I A 65 , C N 120 , H K 95 ( ผลจาก ข้อ1 ถึง ข้อ 3 )
- 6. D A E FB C ถ้า ABC ~ DEF AB BC AC ดังนั้น DE EF DF
- 7. และ MB // RF กาหนดความยาวของด้านต่างๆ ดังรูป B y x F O 6 5 15 4 M R1) BO M F O R ( มุมตรงข้าม) 2) B MO R F O ( มุมแย้ง) 3) M BO F R O ( มุมแย้ง)4) BOM ~ FRO (มีมมเท่ากัน 3 คู) ุ ่
- 8. x 45) (ด้านที่สมนัยกัน คืออยู่ตรงข้ามกับมุมคู่ที่เท่ากัน) 15 66) x 415 10 (ผลจาก ข้อ 5. ) 6 y 57) (ในทานองเดียวกันกับข้อ 5. ) 15 68) y 515 25 (ผลจาก ข้อ 7. ) 6 2
- 9. ข้อ2. หน้า 169 ABC ~ AEF y 25 25 x 20 25 20 27 25 25 25 y 25 20 20 27 125 x y 25 25 4 125 y 25 x 21.6 4 125 100 y 4 25 y 6.25 4
- 10. บทนิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยม สองรูปนั้นมีขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ สามคู่ D A B C E F ถ้า ABC ~ DEF แล้ว ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ A D, B E , C F และถ้า ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ A D, B E , C F แล้ว ABC ~ DEF ABC ~ DEF ก็ต่อเมื่อ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ A D, B E , C F
- 11. ข้อ 1. หน้า 168) จากรูป รูปสามเหลี่ยมแต่ละคู่ต่อไปนี้คล้ายกันหรือไม่ เพราะเหตุใด 2). ในทานองเดียวกัน สามารถให้เหตุ ผลได้ว่า 62 ในรูป MNA ˆ N 180 60 58 62 68 ดังนั้นรูปสามเหลียมทั้งสองไม่ ่ จากรูป BYO มี คล้ายกัน ( มีมุมเท่ากันไม่ครบ 3 คู่ ) ˆ ˆ B 60 , Y 52 (กาหนดให้) ˆO 180 60 52 68 (ผลบวกของมุมภายในรูปสามเหลียมคือ 180 องศา) ่
- 12. ทฤษฎีบท ถ้าอัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันทุกคู่ของรูปสามเหลี่ยมสองรูปเป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน แล้ว รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน AB BC CA DF FE ED ถ้า หรือ DF FE ED AB BC CA แล้ว ABC ~ DFE
- 13. ข้อ 1. หน้า 176) จากรูป รูปสามเหลี่ยมสองรูปในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายกันหรือไม่ เพราะเหตุใด 2). จาก ATE และ RTN 25 AT 15 15 3 RT (15 10 ) 25 5 TE 18 18 3 TN 18 12 30 5 EA 12 3 NR 20 5 ดังนั้น ATE ~ RTN ( เพราะรูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูปมีอัตราส่วนของด้านที่สมนัยกัน เท่ากัน 3 คู่ )
- 14. ตัวอย่าง จากรูป กาหนดให้ AD DE AE AB BC AC จงพิสจน์ว่า ู DE // BC กาหนดให้ AD DE AE AB BC AC ต้องพิสูจน์ว่า DE // BC พิสูจน์ AD DE AE ( โจทย์กาหนดให้ ) AB BC AC แล้ว ADE ~ ABC( อัตราส่วนของด้านที่สมนัยกันเท่ากัน ) ADE ABC , AED ACB ( สามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน ) ˆ ˆ ˆ ˆ ดังนั้น DE // BC ( มุมภายในและมุมภายนอกบนข้างเดียวกันของ เส้นตัด มีขนาดเท่ากัน )
- 15. 4.3 การนาไปใช้ ข้อ 3. หน้า 185) จากรูป จงหาความกว้างของเหว ระหว่างจุด P และจุด R ( ความยาวที่กาหนดให้มหน่วยเป็นเมตร ) ี ˆ ˆ M R 90 (ต่างก็เป็นมุมฉาก) ˆ ˆ MNL PNR (เป็นมุมตรงข้าม) ˆ ˆ LP (เป็นมุมที่เหลือจากมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม) ดังนั้น LMN ~ PRN (มีมมเท่ากัน 3 คู) ุ ่ PR RN (สามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกัน) LM MN
- 16. PR 120 25 30 120 25PR 100 30ดังนั้นเหวกว้าง = 100 เมตร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น